173 ถนนนครราชสีมา ดุสิต กรุงเทพฯ 10300
e-mail : surasakdota@crownpropertydotordotth surasak.cpb@gmail.com surasak_cpb@hotmail.com
http://surasak-akkaraareesuk.blogspot.com/
สุรศักดิ์
อัครอารีสุข มีประสบการณ์และคลุกคลีในงานด้านนโยบายและแผน
และงานด้านการจัดการองค์กรมามากกว่า 10 ปี
เป็นผู้ให้คำปรึกษาในการจัดทำโครงการแก่ผู้บริหารโครงการขององค์กร ปัจจุบัน (2555/2012)
ดำรงตำแหน่งหัวหน้าแผนกอาวุโส สังกัดกองพัฒนางานบุคคล
ฝ่ายบริหารทรัพยากรบุคคล
โดยดูแลงานด้านแผนกลยุทธ์การพัฒนาบุคลากรขององค์กร
บทความนี้ได้คัดลอกมาจากหนังสือ "101 เคล็ดวิชาที่ฉันได้มาจาก Harvard Business School" ของ "Michael W.Preist and Matthew Frederick" ในหัวข้อที่ผมสนใจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาของตัวผมเอง และท่านที่อาจจะสนใจ
บทความนี้ได้คัดลอกมาจากหนังสือ "101 เคล็ดวิชาที่ฉันได้มาจาก Harvard Business School" ของ "Michael W.Preist and Matthew Frederick" ในหัวข้อที่ผมสนใจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาของตัวผมเอง และท่านที่อาจจะสนใจ
เนื้อหา
กฎ 72 เป็นการคาดการณ์จำนวนปีที่จะได้ผลตอบแทนเป็นสองเท่าของเงินลงทุน ในกรณีที่รู้อัตราดอกเบี้ย นั่นคือ เพียงแค่นำอัตราดอกเบี้ยไปหาร 72
เช่น การลงทุนที่ได้รับดอกเบี้ย 9 เปอร์เซ็นต์ต่อปี จะได้ผลตอบแทนเป็นสองเท่าของเงินลงทุนเมื่อเวลาผ่านไปประมาณ 8 ปี (72 / 9)
โดยปกติ ถ้าหารด้วยเลข 69 หรือ 70 จะมีความแม่นยำมากขึ้น แต่เลข 72 เป็นตัวเลขที่หารง่ายกว่า เพราะมีเลขหลายตัวที่หารด้วย 72 แล้วลงตัว
สูตรนี้ อาจนำมาคิดกลับกันเพื่อใช้้คำนวณหาอัตราดอกเบี้ยได้ในกรณีที่รู้ระยะเวลาที่ต้องการได้ผลตอบแทนเป็นสองเท่าของเงินลงทุน
หรืออาจใช้คำนวณหาจำนวนปีที่มูลค่าเงินจะลดลงครึ่งหนึ่งอันเนื่องมาจากเงินเฟ้อ ตัวอย่างเช่น ถ้าหากตัวเลขเงินเฟ้ออยู่ที่ 4 เปอร์เซ็นต์ต่อปี อำนาจการซื้อของเงิน 1 ดอลลาร์จะลดลงครึ่งหนึ่งภายในระยะเวลา 18 ปี (72 / 4)
อัตราดอกเบี้ยต่อปี |
1%
|
2%
|
3%
|
4%
|
5%
|
6%
|
7%
|
8%
|
9%
|
จำนวนปีที่จะได้ผลตอบแทนเป็นสองเท่าของเงินลงทุน |
72
|
36
|
24
|
18
|
14.2
|
12
|
10.3
|
9
|
8
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น