173 ถนนนครราชสีมา ดุสิต กรุงเทพฯ 10300
e-mail : surasakdota@crownpropertydotordotth surasak.cpb@gmail.com surasak_cpb@hotmail.com http://surasak-akkaraareesuk.blogspot.com/
สุรศักดิ์
อัครอารีสุข มีประสบการณ์และคลุกคลีในงานด้านนโยบายและแผน
และงานด้านการจัดการองค์กรมามากกว่า 10 ปี
เป็นผู้ให้คำปรึกษาในการจัดทำโครงการแก่ผู้บริหารโครงการขององค์กร
จากการสัมภาษณ์งาน
- ถ้าเขาบอกว่ามี ต้องเคยทำ
- ถ้าเขาบอกว่าเคยทำ ต้องเล่าได้
- ถ้าเขาเล่าได้ ก็สันนิษฐานได้ว่าน่าจะมี
เทคนิคการเล่าเรื่อง (เวลาสัมภาษณ์) ใช้เทคนิค STAR
- ST - Situation การเล่าถึงสถานการณ์ที่เขาได้ทำ
- A - Action การเล่าถึงพฤติกรรมที่เขาได้ปฏิบัติ
- R - Result การเล่าถึงผลลัพธ์ในส่งที่เขาได้กระทำไป
ตัวอย่างสิ่งที่เราคาดหวังจากการทำ CFT ยกตัวอย่าง
- คำถาม ที่เราจะนำไปใชในการสัมภาษณ์งาน
- รูปแบบ ที่เราจะนำไปปรับใช้ในงาน เช่น รูปแบบการปฐมนิเทศน์ที่เราได้นำ SCV ไปใส่ไว้เรียบร้อยแล้ว
- กติกาหรือกฎเกณ์ ที่เราได้พัฒนาหรือร่างขึ้นมาใช้งาน เช่น การประเมินผลการปฏิบัติงาน, เราอาจมองผลการปฏิบัติงานที่ 70-80% และมองที่พฤติกรรมที่แสดงออกสอดคล้องกับ SCV ที่ 20-30% ซึ่งเป็นหลักสากลที่องค์กรต่าง ๆ นิยมปรับใช้งาน
หลักการวัด หากยังไม่สามารถกำหนดตัวชี้วัดได้ มิได้หมายถึงว่าไม่ต้องวัด มีหลักการกว้าง ๆ คือ
- การวัดทุกครั้ง ต้องมีการยกตัวอย่างประกอบได้
- หัวหน้า ต้องมีการทำ Feedback จากบุคคลอื่นรายรอบ
- หัวหน้า ต้องตกลงพฤติกรรมกับตัวลูกน้อง เช่น ความรับผิดชอบ หมายถึง ส่งงานตรงเวลา, ความดี หมายถึง
เกณ์ (มองให้เห็นภาพ) ในการประเมินคน
- 1 คะแนน หมายถึง (เป็นโจร) ทำตรงกันข้ามกับที่ได้ตกลงไว้ หรือมาตรฐานที่ได้กำหนดไว้ทุกอย่างเลย
- 2 คะแนน หมายถึง (เป็นคนธรรมดา) คือ มีความดี - ความชั่ว พอ ๆ กัน ทำตามที่ตกลงกันไว้ กับที่นอกเหนือจากตกลงกันไว้พอ ๆ กัน
- 3 คะแนน หมายถึง (เป็นอุบกสกอุบาสิกา) คือ มีความดีมากกว่าความเลว คือ ทำตามที่ได้ตกลงไว้มากกว่าที่ไม่ได้ตกลงไว้
- 4 คะแนน หมายถึง (เป็นอรหันต์) คือ มัีนทำดีทุกอย่าง แต่ทำอยู่เพียงคนเดียว ไม่แบ่งปันให้กับใคร คือ ทำตามที่ืตกลงกันไว้ทุกประการ
- 5 คะแนน หมายถึง (เป็นศาสดา) คือ เมื่อทำตามที่ตกลงกันไว้ทุกอย่างแล้ว ยังมีการนำไปเผยแผ่แก่คนอื่นไปพร้อม ๆ กัน
วิธีการที่จะใช้ในการผลักดันให้คนในองค์กรปฏิบัติ
- การจูงใจ ให้เขาเห็นถึงประโยชน์ที่เขาจะต้องนำไปปฏิบัติ
- การให้ความรู้ แก่ตัวพวกเขา พอที่จะนำไปใช้งานได้
- การอำนวยความสะดวก ให้เขาสามารถนำไปใช้งานได้อย่างไม่ติดขัด
เครดิตจาก : คุณอภิวุฒิ พิมลแสงสุริยา
จากการสัมภาษณ์งาน
- ถ้าเขาบอกว่ามี ต้องเคยทำ
- ถ้าเขาบอกว่าเคยทำ ต้องเล่าได้
- ถ้าเขาเล่าได้ ก็สันนิษฐานได้ว่าน่าจะมี
เทคนิคการเล่าเรื่อง (เวลาสัมภาษณ์) ใช้เทคนิค STAR
- ST - Situation การเล่าถึงสถานการณ์ที่เขาได้ทำ
- A - Action การเล่าถึงพฤติกรรมที่เขาได้ปฏิบัติ
- R - Result การเล่าถึงผลลัพธ์ในส่งที่เขาได้กระทำไป
ตัวอย่างสิ่งที่เราคาดหวังจากการทำ CFT ยกตัวอย่าง
- คำถาม ที่เราจะนำไปใชในการสัมภาษณ์งาน
- รูปแบบ ที่เราจะนำไปปรับใช้ในงาน เช่น รูปแบบการปฐมนิเทศน์ที่เราได้นำ SCV ไปใส่ไว้เรียบร้อยแล้ว
- กติกาหรือกฎเกณ์ ที่เราได้พัฒนาหรือร่างขึ้นมาใช้งาน เช่น การประเมินผลการปฏิบัติงาน, เราอาจมองผลการปฏิบัติงานที่ 70-80% และมองที่พฤติกรรมที่แสดงออกสอดคล้องกับ SCV ที่ 20-30% ซึ่งเป็นหลักสากลที่องค์กรต่าง ๆ นิยมปรับใช้งาน
หลักการวัด หากยังไม่สามารถกำหนดตัวชี้วัดได้ มิได้หมายถึงว่าไม่ต้องวัด มีหลักการกว้าง ๆ คือ
- การวัดทุกครั้ง ต้องมีการยกตัวอย่างประกอบได้
- หัวหน้า ต้องมีการทำ Feedback จากบุคคลอื่นรายรอบ
- หัวหน้า ต้องตกลงพฤติกรรมกับตัวลูกน้อง เช่น ความรับผิดชอบ หมายถึง ส่งงานตรงเวลา, ความดี หมายถึง
เกณ์ (มองให้เห็นภาพ) ในการประเมินคน
- 1 คะแนน หมายถึง (เป็นโจร) ทำตรงกันข้ามกับที่ได้ตกลงไว้ หรือมาตรฐานที่ได้กำหนดไว้ทุกอย่างเลย
- 2 คะแนน หมายถึง (เป็นคนธรรมดา) คือ มีความดี - ความชั่ว พอ ๆ กัน ทำตามที่ตกลงกันไว้ กับที่นอกเหนือจากตกลงกันไว้พอ ๆ กัน
- 3 คะแนน หมายถึง (เป็นอุบกสกอุบาสิกา) คือ มีความดีมากกว่าความเลว คือ ทำตามที่ได้ตกลงไว้มากกว่าที่ไม่ได้ตกลงไว้
- 4 คะแนน หมายถึง (เป็นอรหันต์) คือ มัีนทำดีทุกอย่าง แต่ทำอยู่เพียงคนเดียว ไม่แบ่งปันให้กับใคร คือ ทำตามที่ืตกลงกันไว้ทุกประการ
- 5 คะแนน หมายถึง (เป็นศาสดา) คือ เมื่อทำตามที่ตกลงกันไว้ทุกอย่างแล้ว ยังมีการนำไปเผยแผ่แก่คนอื่นไปพร้อม ๆ กัน
วิธีการที่จะใช้ในการผลักดันให้คนในองค์กรปฏิบัติ
- การจูงใจ ให้เขาเห็นถึงประโยชน์ที่เขาจะต้องนำไปปฏิบัติ
- การให้ความรู้ แก่ตัวพวกเขา พอที่จะนำไปใช้งานได้
- การอำนวยความสะดวก ให้เขาสามารถนำไปใช้งานได้อย่างไม่ติดขัด
เครดิตจาก : คุณอภิวุฒิ พิมลแสงสุริยา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น